โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง ถือว่า เป็นโรคที่คนไทยเป็นกันเยอะนะครับ เรียกได้ว่า ในคนวัย 40 ปีขึ้นไป แทบจะพบโรคนี้ 5 ใน 10 คนเลย
แต่ว่าจะมีใครรู้บ้างว่า ความดันโลหิตสูงส่งผลต่ออวัยวะในร่างกายเราอย่างไร ?
ความดันโลหิตสูงเกิดจาก เส้นเลือดต่างๆในร่างกาย สูญเสียความยืดหยุ่นเนื่องจาก มีไขมันมาเกาะ ในเส้นเลือด และทำให้ผนังหลอดเลือดแดงหนาตัวขึ้น และ ทางเดินของเลือดตีบเล็กลง
ระยะเวลาที่เป็นความดันโลหิตสูง จนเกิดผลร้ายดังกล่าว จะขึ้นอยู่กับระดับความดันโลหิต เช่น ระดับอ่อน และปานกลาง จะใช้เวลานานมากกว่า10 ปี ระดับรุนแรงจะใช้เวลาสั้นกว่านี้ โดยจะส่งผลต่ออวัยวะดังนี้
ระยะเวลาที่เป็นความดันโลหิตสูง จนเกิดผลร้ายดังกล่าว จะขึ้นอยู่กับระดับความดันโลหิต เช่น ระดับอ่อน และปานกลาง จะใช้เวลานานมากกว่า10 ปี ระดับรุนแรงจะใช้เวลาสั้นกว่านี้ โดยจะส่งผลต่ออวัยวะดังนี้
1.หัวใจ
ความดันโลหิตสูง จะมีผลต่อหัวใจ2ทาง คือ ทำใหักล้ามเนื้อหัวใจโต / และหลอดเลือดหัวใจตีบ ทำให้เกิดการเจ็บหน้าอกจากหัวใจขาดเลือด
ความดันโลหิตสูง จะมีผลต่อหัวใจ2ทาง คือ ทำใหักล้ามเนื้อหัวใจโต / และหลอดเลือดหัวใจตีบ ทำให้เกิดการเจ็บหน้าอกจากหัวใจขาดเลือด
2.ไต
ความดันโลหิตสูงก็มีผลต่อหลอดเลือดที่ไต เช่นเดียวกับหลอดเลือดหัวใจ คือ เส้นเลือดหนาตัวขึ้น เส้นเลือดในไตตีบลง ทำให้เลือดไปเลี้ยงไตไม่พอ มีผลให้ไตเสื่อมสมรรถภาพ จนถึงขั้นไตวายเรื้อรัง
ความดันโลหิตสูงก็มีผลต่อหลอดเลือดที่ไต เช่นเดียวกับหลอดเลือดหัวใจ คือ เส้นเลือดหนาตัวขึ้น เส้นเลือดในไตตีบลง ทำให้เลือดไปเลี้ยงไตไม่พอ มีผลให้ไตเสื่อมสมรรถภาพ จนถึงขั้นไตวายเรื้อรัง
3.ตา
ความดันโลหิตสูงจะมีผลต่อหลอดเลือดที่ตา เช่น เลือดออกที่จอตา หลอดเลือดเล็กๆ ที่จอตาอุดตัน หรือ ทำให้จอตาหลุดลอกออกได้
ความดันโลหิตสูงจะมีผลต่อหลอดเลือดที่ตา เช่น เลือดออกที่จอตา หลอดเลือดเล็กๆ ที่จอตาอุดตัน หรือ ทำให้จอตาหลุดลอกออกได้
4.สมอง
ความดันโลหิตสูง มีผลต่อสมอง 2อย่างคือ เส้นเลือดตีบ และ เส้นเลือดในสมองแตก ซึ่ง ทั้ง 2 อย่างนี้ทำให้เกิดผลต่อร่างกายคือ อัมพฤกษ์ อัมพาตได้
ความดันโลหิตสูง มีผลต่อสมอง 2อย่างคือ เส้นเลือดตีบ และ เส้นเลือดในสมองแตก ซึ่ง ทั้ง 2 อย่างนี้ทำให้เกิดผลต่อร่างกายคือ อัมพฤกษ์ อัมพาตได้
5.หลอดเลือด
ความดันโลหิตสูง จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดทั่วร่างกาย ทำให้หลอดเลือดตีบแคบ มีผลทำให้เลือดไปเลี้ยงบริเวณแขนขาและอวัยวะภายในลดลง เช่น เส้นเลือดที่ขาตีบ
ความดันโลหิตสูง จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดทั่วร่างกาย ทำให้หลอดเลือดตีบแคบ มีผลทำให้เลือดไปเลี้ยงบริเวณแขนขาและอวัยวะภายในลดลง เช่น เส้นเลือดที่ขาตีบ
ภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูงพบได้ตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า ดังนั้นเราควรควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปรกติมากที่สุดเพื่อไม่ให้มีอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวนะครับ
#โค้ชเกมส์
#ผู้เชี่ยวชาญด้านการฟื้นฟูสุขภาพร่างกายด้วยสารอาหารจำเป็นคุณภาพสูง
📞 092-645-4256
📲 LINE : kp156
#เพราะหลอดเลือดคือทั้งหมดของชีวิต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น